ภาพ ต้นไทร
บริเวณหน้าเสาธง
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์
|
Suregada multiflorum Baill.
|
ชื่อวงศ์
|
EUPHORBIACEAE
|
ถิ่นกำเนิด
|
ในอินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย
|
ลักษณะทั่วไป
|
ต้น ไม้สูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดทรงกลมแผ่กว้าง สีน้ำตาล กิ่งก้านห้อยย้อยลง โตช้า มีรากอากาศห้อยย้อย
|
การปลูก
|
ปลูกลงดิน และปลูกในกระถาง
|
การดูแลรักษา
|
ต้องการแสงแดดจัด น้ำปานกลาง ชอบดินร่วนซุย
|
การขยายพันธุ์
|
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง หรือ ปักชำ
|
ลักษณะทั่วไปทางพันธุศาสตร์
ชื่ออื่น : กระดูก, ยายปลูก, ขนุนดง, ขอบนางนั่ง, ขัณฑสกร, ช้องรำพัน, สลอด, น้ำขันทอง, มะดูก, หมายดูก, ข้าวตาก, ขุนทอง, คุณทอง, ดูกขันทองพยาบาท, ดูกไม
รูปลักษณะ : ไทร เป็นไม้ยืนต้น สูง 4-15 เมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 9-14 ซม. ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น กลีบดอกสีนวล ผลแห้ง แตกได้ รูปกลม
สรรพคุณทางยา:
เนื้อไม้ ใช้แก้ลมพิษ แก้กามโรค เปลือกต้น เป็นยาแก้โรคผิวหนังกลากเกลื้อน นอกจากนี้ ยังใช้เป็นยาบำรุงเหงือก ทำให้ฟันทน ยาถ่ายและฆ่าพยาธิ
รากไทรย้อยมีสรรพคุณเป็นยาแก้กาฬโลหิต (รากอากาศ)
รากอากาศมีสรรพคุณบำรุงโลหิต แก้ตกโลหิต (รากอากาศ)
รากอากาศเป็นยาขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ บำรุงน้ำนม
การเป็นมงคล
คนไทยโบราณเชื่อว่า: บ้านใดปลูกต้นไทรไว้ประจำบ้านจะทำให้เกิดความร่มเย็น เพราะ คนโบราณได้กล่าวว่า ร่มโพธิ์ ร่มไทร ช่วยทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขนอกจากนี้ยังช่วยคุ้มครองป้องกันภัยอันตรายทั้งปวงเพราะ บางคนเชื่อว่า ต้น ไทร เป็นไม้ที่ ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีเทพารักษ์อาศัยอยู่คอยคุ้มครองพิทักษ์ปวงชนให้มีความอยู่เย็นเป็นสุข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น